โดยวันนี้มีอีกหนึ่งชุดข้อมูลที่น่าสนใจมาจากมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ดก็ไออกมาระบุถึงวัคซัน แอสตร้าเซนเนก้า ติดเชื้อโควิดโอไมครอน ว่าท้ายที่สุดแล้วจะสามารถมีประสิทธิภาพมากพอที่จะป้องกันไวรัสสายพันธุ์โอไมครอน ซึ่งจากการศึกษาเบื้องต้นก็ดูเหมือนว่าจะมีความเป็นไปได้เหมือนกันว่าวัคซีนแอสตร้าเซนเนก้านั้นสามารถป้องกันโอไมครอนได้
มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ดผู้ร่วมพัฒนาวัคซีนโควิด-19กับแอสตร้าเซนเนก้าไม่พบหลักฐานที่บ่งชี้ว่าวัคซีนที่มีการใช้อยู่ในปัจจุบันจะไม่สามารถป้องกันเชื้อโควิด-19สายพันธุ์โอไมครอน โดยในช่วง1ปีมานี้มีโควิดชนิดกลายพันธุ์เกิดขึ้นอยู่หลายชนิดแต่วัคซีนยังคงสามารถป้องกันการเกิดอาการหนักได้รวมถึงสายพันธุ์โอไมครอนด้วย
ในขณะนี้ผู้ผลิตยาหลายแห่งก็กำลังเร่งทดสอบวัคซีนแล้ววิธีการรักษาเนื่องจากเชื้อสายพันธ์โอไมครอนมีการกลายพันธุ์หลายตำแหน่งเพิ่มความสามารถในการติดต่อและหลบหลีกภูมิคุ้มกันของวัคซีนที่จะต้องใช้เวลานานหลายสัปดาห์ในการสรุปข้อมูลโดยเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว แอสตร้าเซนเนก้า ได้เปิดเผยได้ทดสอบวัคซีนที่เป็นประเทศที่ได้พบเชื้อโอไมครอนแล้ว
โดยศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคยุโรปมีการรายงานออกมาด้วยว่าทางสหภาพยุโรปพบผู้ติดเชื้อโควิดโอไมครอนแล้วจำนวน44คนใน11ประเทศทั้งหมดเป็นการติดเชื้อแบบไม่แสดงอาการหรืออีการแสดงอาการเล็กน้อยเท่านั้นโดย11ประเทศ ออสเตรีย เบลเยียม เช็กเกีย เดนมาร์ก ฝรั่งเศส ที่เกาะเรอูนียง เยอรมนี อิตาลี เนเธอร์แลนด์ โปรตุเกส สเปน และ สวีเดน
ทั้งนี้ยังพบกรณีที่อาจจะติดเชื้อโอไมครอนในประเทศและดินแดนต่างๆอีก9 แห่งด้วย ซึ่งอยู่ในระหว่างการตรวจสอบโดยในกรณีที่ได้รับการยืนยันส่วนใหญ่เป็นผู้ที่มีประวัติการเดินทางไปยังประเทศต่างๆในทวีปแอฟริกาบางส่วนแวะต่อเครื่องบินมุงหน้าสู่จุดหมายปลายทางอื่นๆระหว่างแอฟริกากับยุโรป
ในขณะเดียวกันมีข้อจากมูลสเตฟานบายเซลล์ประธานเจ้าหน้าที่บริหารของบริษัทผู้ผลิตยา โมเดอร์นา ระบุว่าวัคซีนโควิดที่มีอยู่ในโลกตอนนี้ไม่ย่าจะมีประสิทธิภาพในการต่อต้านไวรัสโควิด-19สายพันธุ์โอไมครอนได้เทียบเท่ากับที่เคยใช้กับต่อต้านสายพันธุ์เดลต้า
ก่อให้เกิดความกังวลเกี่ยวกับการระบาดครั้งใหญ่เพราะคิดว่าตอนนี้ไม่มีวัคซีนในโลกที่มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับเดียวกับที่เรามีกับเดลต้าผมคิดว่ามันจะมีประสิทธิภาพน้อยลงไม่รู้เท่าไหร่เพราะต้องรอข้อมูลแต่นักวิทยาศาสตร์ทุกคนที่ผมได้พูดคุยด้วยก็มองว่าดูท่าว่าจะไม่ดีนักนี่เป้นคำพูดของสเตฟานบายเซลล์
ทั้งนี้จำนวนการกลายพันธุ์ระดับสูงของโปรตีนตรงส่วนหนามที่ไวรัสใช้ในการจับกับเซลล์ของมนุษย์หมายความว่าอาจจะต้องมีการปรับเปลี่ยนสูตรในการผลิตวัคซีนที่ใช้ในปัจจุบัน
สนับสนุนโดย. สมัคร gclub royal1688